Saint Louis School
  [ Home ]  [ Today 's Event ]  [ FAQ ]  [ บันทึกงาน ]
User: Passwd:
ค้นหาข้อมูล:





608 โครงการค่ายวิชาการ
หน่วยงาน :งานบริหารฝ่ายปฐมวัย
โครงการ :608 โครงการค่ายวิชาการ

หลักการและเหตุผล :
    เด็กฝ่ายปฐมวัยต้องได้รับการพัฒนาการครบทั้ง 4 ด้าน คือทางด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญา จิตใจ โดยเด็กปฐมวัยสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้เอย่างเหมาะสมตามวัย และสามารถเรียนรู้ได้จากประสบการณ์การตรง จากการลงมือปฏิบัติจริง เด็กมีมนุษย์สัมพันธ์กับคนคุ้นเคย ชื่นชมและรักธรรมชาติ เด็กต้องได้รับการส่งเสริมความรู้พื้นฐานทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์เบื้องต้น ฝึกปฏิบัติให้เด็กนำประสบการณ์ต่าง ๆ ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ อย่างถูกต้อง โดยครูจัดทำแผนงานโครงการ แผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่เหมาะสมกับเด็ก โดยมีคณะกรรมการผู้ปกครองและเครือข่าย แลกเปลี่ยนการเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัวและองค์กรที่เกี่ยวข้อง จัดโครงการต่าง ๆ เพื่อพัฒนาเด็กและสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นของการศึกษาปฐมวัย โดยมีการจัดกิจกรรมพัฒนาเด็กให้บรรลุเป้าหมาย ระบบงาน กระบวนการทำงาน ของฝ่ายปฐมวัยอย่างมีประสิทธิผล และคุ้มค่าตามภารกิจที่ตั้งไว้

วัตถุประสงค์ :
    1. เพื่อส่งเสริมพัฒนาการทั้ง 4 ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตใจ และเด็กสามารถควบคุมอารมณ์ตนเอง ได้
    2. เพื่อปลูกฝังค่านิยมมีจิตสำนึกเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
    3. เพื่อให้เด็กมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
    4. เพื่อให้เด็กมีทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
    5. เพื่อจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
    6. เพื่อให้ผู้ปกครองเครือข่ายมีส่วนร่วม ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และ องค์กรที่ เกี่ยวข้อง
    7. ฝ่ายปฐมวัยจัดโครงการพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมาย ตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นกระบวนการทำงาน ระบบงาน และการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา

เป้าหมาย :
เชิงคุณภาพ
   1. 1. เด็กมีพัฒนาการทั้ง 4 ด้านร่างกาย อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตใจ และเด็กสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้
   2. 2 เด็กได้รับการปลูกฝังค่านิยมมีจิตสำนึกเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม และมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
   3. 3 เด็กมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
   4. 4 เด็กมีทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
   5. 5. เด็กได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
   6. 6. ฝ่ายปฐมวัย ผู้ปกครอง เครือข่าย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และ องค์กรที่ เกี่ยวข้อง
   7. 7. ฝ่ายปฐมวัยจัดโครงการพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมาย ตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นกระบวนการทำงาน ระบบงาน และการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา
เชิงปริมาณ
   1. นักเรียนระดับการศึกษาปฐมวัยจำนวน 773 คน เข้าร่วมกิจกรรมค่ายวิชาการ

KPI :
   1. เด็กร้อยละ 98 มีพัฒนาการมีพัฒนาทั้ง 4 ด้าน อารมณ์ สังคม สติปัญญาและจิตใจ เด็กสามารถควบคุมอารมณ์ตนเองได้
   2. เด็กร้อยละ 98 ได้รับการปลูกฝังค่านิยมมีจิตสำนึกเห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวมและมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์และพัฒนา สิ่งแวดล้อม
   3. เด็กร้อยละ 98 มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
   4. เด็กร้อยละ 98 มีทักษะพื้นฐานตามพัฒนาการด้านสังคมสมวัย
   5. เด็กร้อยละ 98 ได้รับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลายสอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย
   6. ร้อยละ 98 คณะกรรมการเครือข่ายฝ่ายปฐมวัย มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน ภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษา กับ ครอบครัว ชุมชน และ องค์กรที่ เกี่ยวข้อง
   7. ร้อยละ 98 ฝ่ายปฐมวัยจัดโครงการพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมาย ตามปรัชญา วิสัยทัศน์ และจุดเน้นกระบวนการ ทำงาน ระบบงาน และการจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา

ตอบสนองแผนพัฒนาโรงเรียน :

ตอบสนองแผนพัฒนาโรงเรียนระดับฝ่าย :

สนองนโยบายของโรงเรียนเรื่อง :
    
    
      แผนพัฒนาโรงเรียน
         
    - พันธกิจที่ 2
    - พันธกิจข้อที่ 2 ผู้เรียนร้อยละ 95 เป็นพลเมืองดี มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทย ท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อม
    - เป้าหมายที่ 2
    - เป้าหมายข้อที่ 2 ผู้เรียนร้อยละ 95 เป็นพลเมืองดี มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทย ท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อม
    - ตัวชี้วัดความสำเร็จข้อที่ 2
    - ตัวชี้วัดความสำเร็จข้อที่ 2
    - 2.1 ผู้เรียนร้อยละ 95 เป็นพลเมืองดี มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม ประเพณีไทย ท้องถิ่น และสิ่งแวดล้อม
    - พันธกิจที่ 3
    - พันธกิจข้อที่ 3 ผู้เรียนร้อยละ 80 ประยุกต์ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตประจำวัน
    - เป้าหมายที่ 3
    - เป้าหมายข้อที่ 3 ผู้เรียนร้อยละ 80 ประยุกต์ใช้หลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียงในการดำเนินชีวิตประจำวัน
    - พันธกิจที่ 4
    - พันธกิจข้อที่ 4 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างเป็นระบบครบถ้วน มีความคิดสร้างสรรค์และสามารถแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
    - เป้าหมายที่ 4
    - เป้าหมายข้อที่ 4 ผู้เรียนร้อยละ 80 มีความสามารถในการคิดวิเคราะห์สังเคราะห์อย่างเป็นระบบครบถ้วน มีความคิดสร้างสรรค์และสามารถแก้ปัญหาโดยสันติวิธี
    - พันธกิจที่ 6
    - พันธกิจข้อที่ 6 ผู้เรียนร้อยละ 95 รักการเรียนรู้และมีความสามารถในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
    - เป้าหมายที่ 6
    - เป้าหมายข้อที่ 6 ผู้เรียนร้อยละ 95 รักการเรียนรู้และมีความสามารถในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิต
    - พันธกิจที่ 7
    - พันธกิจข้อที่ 7 ผู้เรียนร้อยละ 95 มีทักษะชีวิต มีทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
    - เป้าหมายที่ 7
    - เป้าหมายข้อที่ 7 ผู้เรียนร้อยละ 95 มีทักษะชีวิต มีทักษะกระบวนการทำงานเป็นทีม สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
    - พันธกิจที่ 8
    - พันธกิจข้อที่ 8 ผู้เรียนร้อยละ 95 ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีสุนทรียภาพ มีผลงานด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา นันทนาการ และเทคโนโลยี
    - เป้าหมายที่ 8
    - เป้าหมายข้อที่ 8 ผู้เรียนร้อยละ 95 ได้รับการพัฒนาและส่งเสริมให้มีสุนทรียภาพ มีผลงานด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา นันทนาการ และเทคโนโลยี
    - พันธกิจที่ 9
    - พันธกิจข้อที่ 9 ผู้เรียนร้อยละ 95 มีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
    - เป้าหมายที่ 9
    - เป้าหมายข้อที่ 9 ผู้เรียนร้อยละ 95 มีสุขนิสัย สุขภาพกาย และสุขภาพจิตที่ดี
    - พันธกิจที่ 18
    - พันธกิจข้อที่18 มีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับบุคคลองค์กร ชุมชน หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรียน
    - เป้าหมายที่ 18
    - ข้อที่18 มีการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับบุคคลองค์กร ชุมชน หน่วยงาน ทั้งภาครัฐและเอกชนในการมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาและพัฒนาโรงเรียน
      แผนยุทธศาสตร์มูลนิธิฯ
         
    - เป้าหมายหลักที่ 5 สร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับเครือข่ายในการพัฒนาการศึกษา
    - เป้าหมายรอง 5.1 ระหว่างโรงเรียนทั้งในและต่างประเทศ
    - เป้าหมายรอง 5.2 บุคลากร
    - เป้าหมายรอง 5.3 ผู้ปกครอง
    - เป้าหมายรอง 5.4 ศิษย์เก่า
    - เป้าหมายรอง 5.5 ชุมชน
      มาตรฐานการศึกษา FSG ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ประถมและมัธยมศึกษา
         
      มาตรฐานการศึกษา FSG. ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน : ปฐมวัย
         
    - มาตรฐานที่ 2 เด็กมีพัฒนาการด้านอารมณ์และจิตใจ
    - 2.1 ร่าเริงแจ่มใส มีความรู้สึกที่ดีต่อตนเอง
    - 2.2 มีความมั่นใจและกล้าแสดงออก
    - 2.3 ควบคุมอารมณ์ตนเองได้เหมาะสมกับวัย
    - 2.4 ชื่นชมศิลปะ ดนตรี การเคลื่อนไหว และรักธรรมชาติ
    - มาตรฐานที่ 3 เด็กมีพัฒนาการด้านสังคม
    - 3.1 มีวินัย รับผิดชอบ เชื่อฟังคำสั่งสอนของพ่อแม่ ครูอาจารย์
    - 3.2 มีความซื่อสัตย์สุจริต ช่วยเหลือแบ่งปัน
    - 3.3 เล่นและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
    - 3.4 ประพฤติตนตามวัฒนธรรมไทยและศาสนาที่ตนนับถือ
    - 3.5 เคารพศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์และมีภราดรภาพ (FSG.) (ม. BSG. 1.7)
    - 3.6 ไม่ละเลยการกระทำความดี (FSG.) (ม. BSG. 1.8)
    - มาตรฐานที่ 4 เด็กมีพัฒนาการด้านสติปัญญา
    - 4.1 สนใจเรียนรู้สิ่งรอบตัว ซักถามอย่างตั้งใจ และรักการเรียนรู้
    - 4.2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสิ่งต่างๆ ที่เกิดจากประสบการณ์การเรียนรู้
    - 4.3 มีทักษะทางภาษาที่เหมาะสมกับวัย
    - 4.4 มีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
    - 4.5 มีจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์
    - มาตรฐานที่ 4 (FSG.) อัตลักษณ์การศึกษาโรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศ ไทย คือ “ยึดมั่นสัจธรรม มีวิริยอุตลาหะและรับผิดชอบต่อสังคม”
    - 4.1 ยึดมั่นสัจธรรม
    - 4.2 มีวิริยอุตสาหะ
    - 4.3 รับผิดชอบต่อสังคม
    - มาตรฐานที่ 5 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
    - 5.1 ครูเข้าใจปรัชญา หลักการ และธรรมชาติของการจัดการศึกษาปฐมวัย และสามารถ นำมาประยุกต์ใช้ในการจัดประสบการณ์
    - 5.2 ครูจัดทำแผนการจัดประสบการณ์ที่สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยและ สามารถจัดประสบการณ์การเรียนรู้ที่หลากหลาย สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่างบุคคล
    - 5.3 ครูบริหารจัดการชั้นเรียนที่สร้างวินัยเชิงบวก
    - 5.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสม สอดคล้องกับพัฒนาการของเด็ก
    - 5.5 ครูใช้เครื่องมือการวัดและประเมินพัฒนาการของเด็กอย่างหลากหลาย และสรุปรายงานผลพัฒนาการของเด็กแก่ผู้ปกครอง
    - 5.6 ครูวิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการจัดประสบการณ์
    - 5.7 ครูจัดสิ่งแวดล้อมให้เกิดการเรียนรู้ได้ตลอดเวลา
    - 5.8 ครูมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเด็ก และผู้ปกครอง
    - 5.9 ครูมีวุฒิและความรู้ความสามารถในด้านการศึกษาปฐมวัย
    - 5.10 ครูจัดทำสารนิทัศน์และนำมาไตร่ตรองเพื่อใช้ประโยชน์ในการพัฒนาเด็ก
    - 5.11 ครูมีวิริย อุตสาหะมุ่งมั่นให้ภาระหน้าที่สำเร็จประโยชน์สูงสุด (FSG.) (ปรัชญามูลนิธิฯ)
    - 5.12 ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างธรรมาชนที่ดี ด้วยการปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ (FSG.) (MEC.P.37)
    - 5.13 ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพ (FSG. )(MEC.P.37)
    - มาตรฐานที่ 7 แนวการจัดการศึกษา
    - 7.1 มีหลักสูตรการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษาและนำสู่การปฏิบัติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
    - 7.2 มีระบบและกลไกให้ผู้มีส่วนร่วมทุกฝ่ายตระหนักและเข้าใจการจัดการศึกษาปฐมวัย
    - 7.3 จัดกิจกรรมเสริมสร้างความตระหนักรู้และความเข้าใจหลักการจัดการศึกษาปฐมวัย
    - 7.4 สร้างการมีส่วนร่วมและแสวงหาความร่วมมือกับผู้ปกครอง ชุมชนและท้องถิ่น
    - 7.5 จัดสิ่งอำนวยความสะดวกเพื่อพัฒนาเด็กอย่างรอบด้าน
    - 7.6 จัดบรรยากาศและสภาพแวดล้อมตามกฎบัตรการศึกษามงฟอร์ต (FSG.) (MEC P.19-21)
    - มาตรฐานที่ 9 คณะกรรมการสถานศึกษา และผู้ปกครอง ชุมชนปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่าง มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล
    - 9.1 เป็นแหล่งเรียนรู้เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กและบุคลากรในสถานศึกษา
    - 9.2 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในสถานศึกษา ระหว่างสถานศึกษากับครอบครัว ชุมชน และองค์กรที่เกี่ยวข้อง
    - 9.3 สถานศึกษาสร้าง กลไก โครงสร้าง และวิธีการต่างๆ ในกระบวนการศึกษาเพื่อผนึกพลัง เชื่อมโยง และส่งเสริมการดำเนินงานและการพัฒนาร่วมกับบุคคลและองค์กรต่าง ๆ ตลอดจนให้การสนับสนุนต่อบรรดาผู้ด้อยโอกาสต่างๆ (FSG.) (MEC P. 16)
    - 9.4 สถานศึกษามีส่วนร่วมในเครือข่ายการทำงานใดๆ กับสถาบันของโรงเรียนในเครือมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย คณะกรรมการและคณะอนุกรรมการต่างๆ ของมูลนิธิคณะเซนต์คาเบรียลแห่งประเทศไทย (FSG.) (BSG.ม.18.4 P. 84)
    - มาตรฐานที่ 10 การพัฒนาสถานศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามปรัชญา วิสัยทัศน์และจุดเน้นของ การศึกษาปฐมวัย
    - 10.1 จัดโครงการ กิจกรรมพัฒนาเด็กให้บรรลุตามเป้าหมาย ปรัชญาวิสัยทัศน์ และจุดเน้น การจัดการศึกษาปฐมวัยของสถานศึกษา
    - 10.2 ผลการดำเนินงานบรรลุตามเป้าหมาย
      มาตรฐานการศึกษา เพื่อการประกันคุณภาพรอบ 3 ระดับพื้นฐาน
         
ปฏิทินโครงการ ()
วันเริ่มต้น วันสิ้นสุด ขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ จำนวนกำหนดการ หน้าที่มอบหมาย รายรับ รายจ่าย ระยะเวลาที่เหลือ

ตารางแสดงรายการกำหนดการหรือวาระในโครงการ (3)

กำหนดการ วันที่ ระยะเวลาที่เหลือ สถานะ จากขั้นตอน เวลาเริ่ม-เวลาสิ้นสุด
 กิจกรรม "นักอนุรักษ์รุ่นจิ๋ว" ระดับชั้นปฐมวัยปีที่ 1 - 3  27 มิ.ย. 2557 ผ่านมาแล้ว 3801 วัน เสร็จสิ้นแล้ว  ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้  14 พ.ค. 2557 - 14 พ.ค. 2558
 คณะครูและนักเรียนระดับชั้นปฐมวัยปีที่ 1 - 3 เข้าร่วมกิจกรรมการทดลองวิทยาศาสตร์สำหรับปฐมวัย  30 มิ.ย. 2557 ผ่านมาแล้ว 3798 วัน เสร็จสิ้นแล้ว  ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้  14 พ.ค. 2557 - 14 พ.ค. 2558
 กิจกรรมเข้าค่ายดูดาว ประจำปีการศึกษา 2557  27 ม.ค. 2558 ผ่านมาแล้ว 3587 วัน เสร็จสิ้นแล้ว  ปฏิบัติตามแผนงานที่วางไว้  14 พ.ค. 2557 - 14 พ.ค. 2558

มอบหมายหน้าที่ :
หน้าที่มอบหมายภายใต้การดำเนินงาน ช่วงเวลาการดำเนินงาน ชื่อหน้าที่

คณะกรรมการโครงการ ()
ชื่อบุคลากร ตำแหน่ง

คณะกรรมการในขั้นตอน (0)


งบประมาณ รายรับ/ รายจ่าย
ลำดับที่     รายจ่าย จำนวนหน่วย ราคาต่อหน่วย รวมราคา
1    อุปกรณ์สำนักงาน 1 *** ***
รวม***


บันทึกรายรับ/รายจ่ายจริง (ตัดงบประมาณโดยการเงิน)

ผลการประเมินงานตาม KPI

 ผลการประเมินงานตามหน้าที่มอบหมาย

 ผลการประเมินงานในระบบ
หัวข้อ%

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

แนวทางการติดตามและประเมิณผล :

สรุปรายงานผลการดำเนินการ:

เปรียบเทียบการใช้งบประมาณ:
สรุป
งบประมาณการรายรับ 0.00 บาท รายรับจริง 0.00 บาท
งบประมาณการรายจ่าย 7,000.00 บาท รายจ่ายจริง 0.00 บาท
รายรับจริง เท่ากับ ประมาณการรายรับ
รายจ่ายจริง ต่ำกว่า ประมาณการรายจ่ายอยู่ 7,000.00 บาท
รายรรับจริง เท่ากับ รายจ่ายจริง


ผู้รับผิดชอบ :
ผู้จัดทำ :


รายชื่อผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการ