Saint Louis School
  [ Home ]  [ Today 's Event ]  [ FAQ ]  [ บันทึกงาน ]
User: Passwd:
ค้นหาข้อมูล:





โครงการห้องเรียนศักยภาพ Gifted
หน่วยงาน :งานบริหารฝ่ายวิชาการ
โครงการ :โครงการห้องเรียนศักยภาพ Gifted

หลักการและเหตุผล :
    การจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันเป็นการศึกษาที่ต้องปรับตัวให้กับโลกทางการศึกษาในศตวรรษที่ 21 และจัดการศึกษาให้เป็นมาตรฐานสากล ส่งเสริมให้ผู้เรียนมีศักยภาพด้านภาษาต่างประเทศ สื่อเทคโนโลยี มุ่งเน้นให้มีความหลากหลายทางด้านการศึกษา เน้นให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ การสร้างสรรค์ชิ้นงานการสื่อสารความคิดสร้างสรรค์ตลอดจนการสร้างนวัตกรรมได้ด้วยตนเอง อีกทั้งยังผลักดันให้ผู้เรียนได้มีการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ได้ด้วยตนเองเป็นอย่างดี ดังนั้นงานหลักสูตรฝ่ายวิชาการจึงได้จัดทำโครงการห้องเรียนศักยภาพ Gifted เพื่อเป็นการส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ พร้อมทั้งให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้และทักษะที่คาดหวังในศตวรรษที่ 21 ทั้งยังเป็นการส่งเสริมให้นักเรียนได้เข้าร่วมการแข่งขันทักษะด้านวิชาการด้านความสามารถวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ เพื่อเป็นการสร้างชื่อเสียงให้กับโรงเรียนและเป็นแบบอย่างที่ดีต่อไป

วัตถุประสงค์ :
    1. เพื่อให้มีหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลาย ส่งเสริมให้ผู้เรียนที่มีความสามารถทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ได้เลือกเรียนตามความถนัด
    2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความสามารถคิด วิเคราะห์ สังเคราะห์อย่างเป็นระบบ ครบถ้วน มีความคิดสร้างสรรค์สามารถแก้ไขปัญหาได้
    3. เพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนได้มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
    4. เพื่อส่งเสริมความเป็นเลิศทางวิชาการ

เป้าหมาย :
เชิงคุณภาพ
   1. นักเรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
   2. นักเรียนมีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
   3. นักเรียนมีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
   4. นักเรียนมีการพัฒนาความเป็นเลิศทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ มีผลการแข่งขันระดับภาคและระดับประเทศ
เชิงปริมาณ
   1. นักเรียนห้องเรียนพิเศษ Gifted จำนวน 122 คน มีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร
   2. นักเรียนห้องเรียนพิเศษ Gifted จำนวน 122 คน มีความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
   3. นักเรียนห้องเรียนพิเศษ Gifted จำนวน 122 คน มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
   4. นักเรียนมีผลงานความเป็นเลิศทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ จากการแข่งขันระดับภาคและระดับประเทศจำนวน 10 คน

KPI :
   1. นักเรียน ร้อยละ 85 มีความรู้และทักษะตามหลักสูตร
   2. นักเรียน ร้อยละ 85 มีความรู้ด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
   3. นักเรียน ร้อยละ 85 มีทักษะการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21
   4. นักเรียน ร้อยละ 85 เข้าร่วมกิจกรรมส่งเสริมความสามารถทางวิชาการด้านวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์

ตอบสนองแผนพัฒนาโรงเรียน :

ตอบสนองแผนพัฒนาโรงเรียนระดับฝ่าย :

สนองนโยบายของโรงเรียนเรื่อง :
    
    
      แผนพัฒนาโรงเรียน
         
    - ยุทธศาสตร์ที่ 1 พัฒนาความโดดเด่นในการจัดการศึกษาในแนวมงฟอร์ต
    - กลยุทธ์ 1.4 ยกระดับการจัดการศึกษาที่เคารพต่อชุมชนของชีวิต (Communlty of Life / Our Common Home) (มิติที่ 7)
    - มาตรการที่ 1.4.1 มีนโยบายในการจัดการศึกษาที่เคารพต่อชุมชนของชีวิต
    - ยุทธศาสตร์ที่ 2 ยกระดับคุณภาพโรงเรียนในยุค Digital
    - กลยุทธ์ 2.1 โรงเรียนส่งเสริมการจัดการศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการเป็นผู้ประกอบการหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านให้กับผู้มีความสนใจ
    - มาตรการที่ 2.1.1 โรงเรียนจัดให้มีหลักสูตรการเรียนการเรียนรู้ที่หลากหลาย เพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียน ชุมชน โดยสำรวจความต้องการของ Stakeholders เพื่อกำหนดทิศทาง
      มาตรฐานการศึกษา สพฐ.
         
    - มาตรฐานที่ 1 คุณภาพของผู้เรียน (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - 1.1 ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
    - 1.2 คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
    - มาตรฐานที่ 2 กระบวนการบริหารและการจัดการ (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - 2.1 มีเป้าหมายวิสัยทัศน์และพันธกิจที่สถานศึกษากำหนดชัดเจน
    - 2.2 มีระบบบริหารจัดการคุณภาพของสถานศึกษา
    - 2.3 ดำเนินงานพัฒนาวิชาการที่เน้นคุณภาพผู้เรียนรอบด้านตามหลักสูตรสถานศึกษาและทุกกลุ่มเป้าหมาย
    - 2.4 พัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
    - 2.5 จัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภาพ
    - 2.6 จัดระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อสนับสนุนการบริหารจัดการและการจัดการเรียนรู้
    - มาตรฐานที่ 3 กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - 3.1 จัดการเรียนรู้ผ่านกระบวนการคิดและปฏิบัติจริง และสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตได้
    - 3.2 ใช้สื่อ เทคโนโลยีสารสนเทศและแหล่งเรียนรู้ที่เอื้อต่อการเรียนรู้
    - 3.3 มีการบริหารจัดการชั้นเรียนเชิงบวก
    - 3.4 ตรวจสอบและประเมินผู้เรียนอย่างเป็นระบบและนำผลการพัฒนาผู้เรียน
    - 3.5 มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และให้ข้อมูลสะท้อนกลับเพื่อพัฒนาและปรับปรุงการจัดการเรียนรู้
      มาตรฐานการศึกษาโรงเรียน
         
    - มาตรฐานที่ 1 ผู้เรียนมีสุขภาวะที่ดีและมีสุนทรียภาพ (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 1.1 มีสุขนิสัยในการดูแลสุขภาพ และออกกำลังกายสม่ำเสมอ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 1.2 มีน้ำหนัก ส่วนสูง และมีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑ์มาตรฐาน
    - ตัวบ่งชี้ที่ 1.3 ป้องกันตนเองจากสิ่งเสพติดให้โทษและหลีกเลี่ยงตนเองจากสภาวะที่เสี่ยงต่อความรุนแรง โรค ภัย อุบัติเหตุ และปัญหาทางเพศ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 1.4 เห็นคุณค่าในตนเอง มีความมั่นใจ กล้าแสดงออกอย่างเหมาะสม
    - ตัวบ่งชี้ที่ 1.5 มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีและให้เกียรติผู้อื่น
    - ตัวบ่งชี้ที่ 1.6 สร้างผลงานจากเข้าร่วมกิจกรรมด้านศิลปะ ดนตรี/นาฏศิลป์ กีฬา/นันทนาการ ตามจินตนาการ
    - มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยมที่พึงประสงค์ (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 2.1 มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามหลักสูตร
    - ตัวบ่งชี้ที่ 2.2 เอื้ออาทรผู้อื่นและกตัญญูกตเวทีต่อผู้มีพระคุณ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 2.3 ยอมรับความคิดและวัฒนธรรมที่แตกต่าง
    - ตัวบ่งชี้ที่ 2.4 ตระหนัก รู้คุณค่า ร่วมอนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม
    - มาตรฐานที่ 3 ผู้เรียนมีทักษะในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง รักการเรียนรู้ และพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 3.1 มีนิสัยรักการอ่านและแสวงหาความรู้ด้วยตนเองจากห้องสมุด แหล่งเรียนรู้ และสื่อต่างๆ รอบตัว
    - ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 มีทักษะในการอ่าน ฟัง ดู พูด เขียน และตั้งคำถามเพื่อค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
    - ตัวบ่งชี้ที่ 3.3 เรียนรู้ร่วมกันเป็นกลุ่ม แลกเปลี่ยนความคิดเห็นเพื่อการเรียนรู้ระหว่างกัน
    - ตัวบ่งชี้ที่ 3.4 ใช้เทคโนโลยีในการเรียนรู้และนำเสนอผลงาน
    - มาตรฐานที่ 4 ผู้เรียนมีความสามารถในการคิดอย่างเป็นระบบ คิดสร้างสรรค์ ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างมีสติสมเหตุผล (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 4.1 สรุปความคิดจากเรื่องที่อ่าน ฟัง และดู และสื่อสารโดยการพูดหรือเขียนตามความคิดของตนเอง
    - ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 นำเสนอวิธีคิด วิธีแก้ปัญหาด้วยภาษาหรือวิธีการของตนเอง
    - ตัวบ่งชี้ที่ 4.3 กำหนดเป้าหมาย คาดการณ์ ตัดสินใจแก้ปัญหาโดยมีเหตุผลประกอบ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 4.4 มีความคิดริเริ่ม และสร้างสรรค์ผลงานด้วยความภาคภูมิใจ
    - มาตรฐานที่ 5 ผู้เรียนมีความรู้และทักษะที่จำเป็นตามหลักสูตร (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 5.1 ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแต่ละกลุ่มสาระเป็นไปตามเกณฑ์
    - ตัวบ่งชี้ที่ 5.2 ผลการประเมินสมรรถนะสำคัญตามหลักสูตรเป็นไปตามเกณฑ์
    - ตัวบ่งชี้ที่ 5.3 ผลการประเมินการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียนเป็นไปตามเกณฑ์
    - ตัวบ่งชี้ที่ 5.4 ผลการทดสอบระดับชาติเป็นไปตามเกณฑ์
    - มาตรฐานที่ 6 ผู้เรียนมีทักษะในการทำงาน รักการทำงาน สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ และมีเจตคติที่ดีต่ออาชีพสุจริต (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 6.1 วางแผนการทำงานและดำเนินการจนสำเร็จ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 6.2 ทำงานอย่างมีความสุข มุ่งมั่นพัฒนางาน และภูมิใจในผลงานของตนเอง
    - ตัวบ่งชี้ที่ 6.3 ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
    - ตัวบ่งชี้ที่ 6.4 มีความรู้สึกที่ดีต่ออาชีพสุจริตและหาความรู้เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองสนใจ
    - มาตรฐานที่ 7 ครูปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.1 ครูมีการกำหนดเป้าหมายคุณภาพผู้เรียนทั้งด้านความรู้ ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึงประสงค์
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.2 ครูมีการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคคล และใช้ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อพัฒนาศักยภาพของผู้เรียน
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.3 ครูออกแบบและจัดการเรียนรู้ที่ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.4 ครูใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนำบริบทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.5 ครูมีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.6 ครูให้คำแนะนำ คำปรึกษา และแก้ไขปัญหาให้แก่ผู้เรียนทั้งด้านการเรียนและคุณภาพ ชีวิตด้วยความเสมอภาค
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.7 ครูมีการศึกษา วิจัยและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ในวิชาที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.8 ครูประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
    - ตัวบ่งชี้ที่ 7.9 ครูจัดการเรียนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็มเวลา เต็มความสามารถ
    - มาตรฐานที่ 8 ผู้บริหารปฏิบัติงานตามบทบาทหน้าที่อย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผล (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 8.3 ผู้บริหารสามารถบริหารจัดการการศึกษาให้บรรลุเป้าหมายตามที่กำหนดไว้ในแผนปฏิบัติการ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 8.6 ผู้บริหารให้คำแนะนำ คำปรึกษาทางวิชาการและเอาใจใส่การจัดการศึกษาเต็มศักยภาพและเต็มเวลา
    - มาตรฐานที่ 10 สถานศึกษามีการจัดหลักสูตร กระบวนการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาคุณภาพผู้เรียนอย่างรอบด้าน (ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน)
    - ตัวบ่งชี้ที่ 10.1 หลักสูตรสถานศึกษาเหมาะสมและสอดคล้องกับท้องถิ่น
    - ตัวบ่งชี้ที่ 10.2 จัดรายวิชาเพิ่มเติมที่หลากหลายให้ผู้เรียนเลือกเรียนตามความถนัด ความสามารถ และความสนใจ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 10.3 จัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่ส่งเสริมและตอบสนองความต้องการ ความสามารถ ความถนัด และความสนใจของผู้เรียน
    - ตัวบ่งชี้ที่ 10.4 สนับสนุนให้ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติจริงจนสรุปความรู้ได้ด้วยตนเอง
    - ตัวบ่งชี้ที่ 10.5 นิเทศภายใน กำกับ ติดตามตรวจสอบ และนำผลไปปรับปรุงการเรียนการสอนอย่างสม่ำเสมอ
    - ตัวบ่งชี้ที่ 10.6 จัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนที่มีประสิทธิภาพและครอบคลุมผู้เรียนทุกคน
      มาตรฐานการศึกษามูลนิธิ ฯ
         
    - มาตรฐานที่ 2 ผู้เรียนแสวงหาความเป็นเลิศ
    - มาตรฐานที่ 3 คุณภาพบุคลากรตามทิศทางการศึกษาในแนวนักบุญมงฟอร์ต
    - ตัวบ่งชี้ที่ 3.2 ครูผู้สอนจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางให้เกิดประโยชน์สูงสุดแก่ผู้เรียน (มิติที่ 5, MEC หน้า 30-31)
    - มาตรฐานที่ 4 คุณภาพการบริหารการจัดการศึกษาตามทิศทางการศึกษาในแนวนักบุญมงฟอร์ต
    - ตัวบ่งชี้ที่ 4.2 โรงเรียนส่งเสริมการจัดการศึกษาตามทิศทางการศึกษาในแนวนักบุญมงฟอร์ม (มิติที่ 2,3,4,8)
      แผนยุทธศาสตร์มูลนิธิ ฯ
         
    - ยุทธศาสตร์ที่ 2 พัฒนาและเสริมสร้างคุณภาพการจัดการศึกษาในยุค Digital
    - กลยุทธ์ที่ 2.1 โรงเรียนส่งเสริมการจัดการศึกษาที่ส่งเสริมทักษะการเป็นผู้ประกอบการหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะด้านให้กับผู้มีความสนใจ
    - มาตรการที่ 2.1.1 โรงเรียนจัดให้มีหลักสูตรการเรียนรู้ที่หลากหลายเพื่อตอบสนองความต้องการของนักเรียน ชุมชนโดยสำรวจความต้องการของ Stakeholders ของแต่ละโรงเรียนเพื่อกำหนดทิศทาง
    - มาตรการที่ 2.1.2 จัดทำหลักสูตรตลอดปีการศึกษา เพื่อเป็นการส่งเสริมทักษะการเป็นผู้ประกอบการ (Entrepreneur Skill) ให้กับผู้มีความสนใจ
    - กลยุทธ์ที่ 2.3 ยกระดับคุณภาพนักเรียนให้มีทักษะสำคัญจำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 (3Rs 8Cs) ที่สอดคล้องกับหลักฐานสมรรถนะและมีความเป็นพลเมืองดิจิทัล (Digital Citizenship)
    - มาตรการที่ 2.3.1 มีการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะที่ส่งเสริมให้นักเรียนเกิดทักษะสำคัญจำเป็นในโลกศตวรรษที่ 21 (3Rs 8Cs)
    - มาตรการที่ 2.3.2 จัดทำเนื้อหาเพิ่มเติมและนำไปบูรณาการในการจัดการเรียนรู้ส่งเสริมความฉลาดทางดิจิทัล (Digital Intelligence Quotient) ในกลุ่มสาระการเรียนรู้
      หลักธรรมาภิบาลมูลนิธิ ฯ
         
    - องค์ประกอบที่ 1 หลักการมีส่วนร่วม และกระบวนการเห็นพ้องในการตัดสินใจ ( Participative and consensus process of decision making)
    - ตัวชี้วัดที่ 8 มีการเสริมพลังกลุ่มเพื่อนมงฟอร์ต ( Montfort Associates ) ให้มีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาในแนวมงฟอร์ตในทุกระดับรวมไปถึงการวางแผน การนำไปปฏิบัติ การกำกับติดตาม และการประเมินผล
ปฏิทินโครงการ (9)
วันเริ่มต้น วันสิ้นสุด ขั้นตอน ผู้รับผิดชอบ จำนวนกำหนดการ หน้าที่มอบหมาย รายรับ รายจ่าย ระยะเวลาที่เหลือ
16 พ.ค. 2567 18 พ.ค. 2567   P 1.แต่งตั้งคณะกรรมการ/ผู้รับผิดชอบของหน่วยงาน   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 259 วัน
01 พ.ค. 2567 16 พ.ค. 2567   P 2.ศึกษาและวิเคราะห์ข้อมูล สรุปสภาพปัจจุบันของการดำเนินงาน   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 261 วัน
01 พ.ค. 2567 15 พ.ค. 2567   P 3. กำหนดคุณภาพที่คาดหวัง และเป้าหมายการดำเนินงาน   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 262 วัน
01 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   P 4.จัดทำแผนงาน กำหนดการ ตารางเวลา แบบฟอร์มเอกสาร จดหมาย คู่มือ (ขั้นตอน ระเบียบการ ฯลฯ) ที่สอดคล้องตามหน้าที่หลัก   0   0 *** *** 88 วัน
01 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   P 4.1 กิจกรรมห้องเรียนพิเศษ Gifted   0   0 *** *** 88 วัน
01 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   P 4.2 วางแผนเพื่อจัดเตรียมเครื่องมือการประเมินผลที่จะตอบกลับคุณภาพที่คาดหวังและเป้าหมายที่กำหนด   0   0 *** *** 88 วัน
01 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   P 4.3 ศึกษา วิเคราะห์ แนวทาง ป้องกัน แก้ไข พัฒนาคุณภาพงาน คุณภาพการให้บริการนำเสนอตามรูปแบบและกระบวนการต่างๆ   0   0 *** *** 88 วัน
18 พ.ค. 2567 18 พ.ค. 2567   P 5. ประชุมคณะกรรมการเพื่อวางแผนและมอบหมายงาน   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 259 วัน
17 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   D 6.ดำเนินงานตามแผนการจัดกิจกรรมในโครงการ   0   0 *** *** 88 วัน
17 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   D 6.1 กิจกรรมห้องเรียนพิเศษ Gifted 2   2   0 *** *** 88 วัน
17 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   D 6.2 ศึกษา วิเคราะห์ แนวทาง ป้องกัน แก้ไข พัฒนาคุณภาพงาน คุณภาพการให้บริการนำเสนอตามรูปแบบและกระบวนการต่างๆ   0   0 *** *** 88 วัน
16 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   C 7. รับการนิเทศการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการจาก งานนโยบายและแผนประจำปี 2567   0   0 *** *** 88 วัน
15 ก.ค. 2567 19 ก.ค. 2567   C 7.1 รับการนิเทศการดำเนินงานตามแบบฟอร์มของงานนโยบายแผนและกำกับติดตาม ครั้งที่ 1   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 197 วัน
09 ก.ย. 2567 13 ก.ย. 2567   C 7.2 รับการนิเทศการดำเนินงานตามแบบฟอร์มของงานนโยบายแผนและกำกับติดตาม ครั้งที่ 2   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 141 วัน
25 พ.ย. 2567 29 พ.ย. 2567   C 7.3 รับการนิเทศการดำเนินงานตามแบบฟอร์มของงานนโยบายแผนและกำกับติดตาม ครั้งที่ 3   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 64 วัน
17 ก.พ. 2568 21 ก.พ. 2568   C 7.4 รับการนิเทศการดำเนินงานตามแบบฟอร์มของงานนโยบายแผนและกำกับติดตาม ครั้งที่ 4   0   0 *** *** 20 วัน
16 พ.ค. 2567 30 เม.ย. 2568   C 7.5 กำกับติดตามและนิเทศการดำเนินงานตามแผนการดำเนินงานของงานนโยบายแผนและกำกับติดตาม   0   0 *** *** 88 วัน
23 ก.ย. 2567 31 มี.ค. 2568   C 8. ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี 2567   0   0 *** *** 58 วัน
23 ก.ย. 2567 27 ก.ย. 2567   C 8.1 ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี 2567 ประจำภาคเรียน 1 ครั้งที่ 1   0   0 *** *** ผ่านมาแล้ว 127 วัน
17 ก.พ. 2568 21 ก.พ. 2568   C 8.2 ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี 2567 ประจำภาคเรียนที่ 2 ครั้งที่ 2   0   0 *** *** 20 วัน
01 มี.ค. 2568 31 มี.ค. 2568   C 8.3 ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนปฏิบัติการประจำปี 2567 เปรียบเทียบเป้าหมาย   0   0 *** *** 58 วัน
31 มี.ค. 2568 31 มี.ค. 2568   A 9. นำสรุปผลการประเมินและข้อเสนอแนะไปพัฒนาการดำเนินงานในปีการศึกษาต่อไป   0   0 *** *** 58 วัน

ตารางแสดงรายการกำหนดการหรือวาระในโครงการ (2)

กำหนดการ วันที่ ระยะเวลาที่เหลือ สถานะ จากขั้นตอน เวลาเริ่ม-เวลาสิ้นสุด
 กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1-2 ห้องเรียน Gifted ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา  4 ก.พ. 2568 3 วัน ไม่ได้เช็ค  6.1 กิจกรรมห้องเรียนพิเศษ Gifted  17 พ.ค. 2567 - 30 เม.ย. 2568
 กิจกรรมทัศนศึกษานอกสถานที่นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ห้องเรียน Gifted ณ อุทยานรังสรรค์นวัตกรรมอวกาศและสถาบันวิทยาศาสตร์ทางทะเล  7 ก.พ. 2568 6 วัน ไม่ได้เช็ค  6.1 กิจกรรมห้องเรียนพิเศษ Gifted  17 พ.ค. 2567 - 30 เม.ย. 2568

มอบหมายหน้าที่ :
หน้าที่มอบหมายภายใต้การดำเนินงาน ช่วงเวลาการดำเนินงาน ชื่อหน้าที่

คณะกรรมการโครงการ ()
ชื่อบุคลากร ตำแหน่ง

คณะกรรมการในขั้นตอน (0)


งบประมาณ รายรับ/ รายจ่าย

บันทึกรายรับ/รายจ่ายจริง (ตัดงบประมาณโดยการเงิน)

ผลการประเมินงานตาม KPI

 ผลการประเมินงานตามหน้าที่มอบหมาย

 ผลการประเมินงานในระบบ
หัวข้อ%

ผลที่คาดว่าจะได้รับ :

แนวทางการติดตามและประเมิณผล :
7.1 สรุปผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
7.2 แบบประเมินการจัดกิจกรรมตามแผนการเรียนรู้

สรุปรายงานผลการดำเนินการ:

เปรียบเทียบการใช้งบประมาณ:
สรุป
งบประมาณการรายรับ 0.00 บาท รายรับจริง 0.00 บาท
งบประมาณการรายจ่าย 0.00 บาท รายจ่ายจริง 0.00 บาท
รายรับจริง เท่ากับ ประมาณการรายรับ
รายจ่ายจริง เท่ากับ ประมาณการรายจ่ายอยู่
รายรรับจริง เท่ากับ รายจ่ายจริง


ผู้รับผิดชอบ :
ผู้จัดทำ :


รายชื่อผู้ที่เกี่ยวข้องในโครงการ