[ Home ]  [ Today 's Event ]  [ FAQ ]  [ บันทึกงาน ]
User: Passwd:
ค้นหาข้อมูล:

วรรณคดี -- อิเหนา

ผู้แต่ง   พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

รูปแบบ   กลอนบทละคร

ที่มาของเรื่อง   อิเหนาเป็นบทประพันธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรื่องนี้ได้เค้าเรื่องมาจากชวา ไทยรับเข้ามาในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ซึ่งพระธิดาคือเจ้าฟ้ากุณฑล ได้ทรงนิพนธ์เรื่องดาหลัง (อิเหนาใหญ่)ส่วนเจ้าฟ้ามงกุฏทรงนิพนธ์เรื่องอิเหนาเล็ก แต่ต่อมาได้สูญหายไป บทละครเรื่องอิเหนาได้รับความนิยมแพร่หลายมากกว่าดาหลัง ชื่อตัวละครก็จะคุ้นหูกว่าดาหลัง

                         ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง อิเหนา ซึ่งได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดแห่งกลอนบทละคร คือดีทั้งความ ดีทั้งกระบวนกลอน ดีทั้งกระบวนสำหรับเล่นละคร

 เนื้อเรื่อง
                        อิเหนาตอนที่นำเป็นบทเรียน มีเนื้อเรื่องย่อดังต่อไปนี้
                        ตั้งแต่วิหยาสะกำได้ชมรูปภาพของนางบุษบาก็หลงรักนาง และอยากได้นางมาเป็นมเหสี ท้าวกะหมังกุหนิงก็ตามใจลูกส่งทูตไปขอนางบุษบากับท้างดาหา และเตรียมกองทัพไว้ถ้าท้าวดาหาปฏิเสธก็จะยกทัพไปตีเมืองดาหา ท้าวกะหมังกุหนิงได้เล่าเรื่องราวและขอความช่วยเหลือจากน้องชาย คือ ระตูปาหยัง และท้าวประหมัน ซึ่งระตูทั้งสองก็ทูลทัดทาน ขอให้ตรึกตรองดูให้ดี เพราะท้าวดาหาเป็นวงศ์อสัญแดหวา ซึ่งมีกำลังทหารมากมาย ทั้งไพร่พลก็ชำนาญในการสงคราม ท้าวกะหมังกุหนิงก็บ่ายเบี่ยงเลี่ยงตอบว่าการทำสงครามครั้งนี้เป็นการช่วงชิงนางบุษบาจากจรกา แม้พระอนุชาจะอ้างเหตุผลอย่างไรก็ตาม ท้าวกะหมังกุหนิงก็ยืนยันความตั้งใจเดิม ไม่เปลี่ยนใจจะทำเพื่อลูก

                         ฝ่ายท้าวดาหาเมื่อปฏิเสธไม่ยอมยกนางบุษบาให้แล้ว ก็มีหนังสือไปขอความช่วยเหลือไปหาท้าวกุเรปัน พระเชษฐา  ท้าวกาหลังและท้าวสิงหัดส่าหรี พระอนุชาทั้งสอง ท้าวสิงหัดส่าหรีเมื่อทราบข่าวก็ส่งทหารไปบอกท้าวดาหาว่าไม่ต้องวิตก จะส่งสุหรานากงไปช่วย ฝ่ายเมืองกุเรปันท้าวกุเรปันได้มีหนังสือ 2 ฉบับ ให้ดะหมังนำไปให้อิเหนา 1ฉบับ และให้ระตูหมันหยา 1 ฉบับ แล้วให้กะหรัดตะปาตี ยกทัพไปสมทบกับอิเหนา ช่วยท้าวดาหาทำศึก กะหรัดตะปาตีก็ยกทัพไปคอยอิเหนาที่ชายเมืองหมันหยา ส่วนท้าวกาหลังก็ให้ตำมะหงงกับดะหมังคุมพลยกออกจากเมืองกาหลังมาพบสุหรานากงจากเมืองสิงหัดส่าหรี สองทัพก็สมทบกันยกไปเมืองดาหา

                          เมื่อท้าวดาหาปฏิเสธไม่ยอมยกนางบุษบาให้ ท้ากะหมังกุหนิงก็เตรียมจัดทัพยกไปตีเมืองดาหา ให้วิหยาสะกำเป็นกองหน้า พระอนุชาทั้งสองเป็นกองหลัง ท้าวกะหมังกุหนิงเป็นจอมทัพ ท้าวกะหมังกุหนิงได้ให้โหรโหรตรวจดูดวงชะตาว่าร้ายดีประกาใด โหรทำนายว่าดวงชะตาของท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำนั้นถึงฆาต ถ้ายกทัพไปในวันพรุ่งนี้จะพ่ายแพ้แก่ศัตรูแน่นอน ให้เว้นไปซัก 7 วัน แล้วจึงจะพ้นเคราะห์ไปทำศึกได้ แต่ท้าวกะหมังกุหนิงก็มิได้เปลี่ยนความตั้งใจ ยกทัพไปตามกำหนดที่ตั้งใจไว้

                                                                            ไปยังหน้าต่อไป
ผู้แต่ง   พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย

รูปแบบ   กลอนบทละคร

ที่มาของเรื่อง   อิเหนาเป็นบทประพันธ์ของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย เรื่องนี้ได้เค้าเรื่องมาจากชวา ไทยรับเข้ามาในสมัยพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ ซึ่งพระธิดาคือเจ้าฟ้ากุณฑล ได้ทรงนิพนธ์เรื่องดาหลัง (อิเหนาใหญ่)ส่วนเจ้าฟ้ามงกุฏทรงนิพนธ์เรื่องอิเหนาเล็ก แต่ต่อมาได้สูญหายไป บทละครเรื่องอิเหนาได้รับความนิยมแพร่หลายมากกว่าดาหลัง ชื่อตัวละครก็จะคุ้นหูกว่าดาหลัง

                         ในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงพระราชนิพนธ์เรื่อง อิเหนา ซึ่งได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดแห่งกลอนบทละคร คือดีทั้งความ ดีทั้งกระบวนกลอน ดีทั้งกระบวนสำหรับเล่นละคร

 เนื้อเรื่อง
                        อิเหนาตอนที่นำเป็นบทเรียน มีเนื้อเรื่องย่อดังต่อไปนี้
                        ตั้งแต่วิหยาสะกำได้ชมรูปภาพของนางบุษบาก็หลงรักนาง และอยากได้นางมาเป็นมเหสี ท้าวกะหมังกุหนิงก็ตามใจลูกส่งทูตไปขอนางบุษบากับท้างดาหา และเตรียมกองทัพไว้ถ้าท้าวดาหาปฏิเสธก็จะยกทัพไปตีเมืองดาหา ท้าวกะหมังกุหนิงได้เล่าเรื่องราวและขอความช่วยเหลือจากน้องชาย คือ ระตูปาหยัง และท้าวประหมัน ซึ่งระตูทั้งสองก็ทูลทัดทาน ขอให้ตรึกตรองดูให้ดี เพราะท้าวดาหาเป็นวงศ์อสัญแดหวา ซึ่งมีกำลังทหารมากมาย ทั้งไพร่พลก็ชำนาญในการสงคราม ท้าวกะหมังกุหนิงก็บ่ายเบี่ยงเลี่ยงตอบว่าการทำสงครามครั้งนี้เป็นการช่วงชิงนางบุษบาจากจรกา แม้พระอนุชาจะอ้างเหตุผลอย่างไรก็ตาม ท้าวกะหมังกุหนิงก็ยืนยันความตั้งใจเดิม ไม่เปลี่ยนใจจะทำเพื่อลูก

                         ฝ่ายท้าวดาหาเมื่อปฏิเสธไม่ยอมยกนางบุษบาให้แล้ว ก็มีหนังสือไปขอความช่วยเหลือไปหาท้าวกุเรปัน พระเชษฐา  ท้าวกาหลังและท้าวสิงหัดส่าหรี พระอนุชาทั้งสอง ท้าวสิงหัดส่าหรีเมื่อทราบข่าวก็ส่งทหารไปบอกท้าวดาหาว่าไม่ต้องวิตก จะส่งสุหรานากงไปช่วย ฝ่ายเมืองกุเรปันท้าวกุเรปันได้มีหนังสือ 2 ฉบับ ให้ดะหมังนำไปให้อิเหนา 1ฉบับ และให้ระตูหมันหยา 1 ฉบับ แล้วให้กะหรัดตะปาตี ยกทัพไปสมทบกับอิเหนา ช่วยท้าวดาหาทำศึก กะหรัดตะปาตีก็ยกทัพไปคอยอิเหนาที่ชายเมืองหมันหยา ส่วนท้าวกาหลังก็ให้ตำมะหงงกับดะหมังคุมพลยกออกจากเมืองกาหลังมาพบสุหรานากงจากเมืองสิงหัดส่าหรี สองทัพก็สมทบกันยกไปเมืองดาหา

                          เมื่อท้าวดาหาปฏิเสธไม่ยอมยกนางบุษบาให้ ท้ากะหมังกุหนิงก็เตรียมจัดทัพยกไปตีเมืองดาหา ให้วิหยาสะกำเป็นกองหน้า พระอนุชาทั้งสองเป็นกองหลัง ท้าวกะหมังกุหนิงเป็นจอมทัพ ท้าวกะหมังกุหนิงได้ให้โหรโหรตรวจดูดวงชะตาว่าร้ายดีประกาใด โหรทำนายว่าดวงชะตาของท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำนั้นถึงฆาต ถ้ายกทัพไปในวันพรุ่งนี้จะพ่ายแพ้แก่ศัตรูแน่นอน ให้เว้นไปซัก 7 วัน แล้วจึงจะพ้นเคราะห์ไปทำศึกได้ แต่ท้าวกะหมังกุหนิงก็มิได้เปลี่ยนความตั้งใจ ยกทัพไปตามกำหนดที่ตั้งใจไว้

                                                                            ไปยังหน้าต่อไป
เมื่อท้าวดาหาทราบข่าวศึกก็ให้ตั้งค่ายรอบกรุงดาหาไว้ ทัพเมืองกะหมังกุหนิงก็ได้ยกทัพมาประชิดเมืองดาหา ท้าวดาหาเมื่อเห็นศึกมาประชิดเช่นนั้นก็รู้สึกน้อยใจอิเหนาว่าศึกครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะอิเหนาเป็นต้นเหตุ สุหรานากงและเสนาเมืองกาหลังเมื่อมาถึงก็เข้าเฝ้าท้าวดาหา สุหรานากงแจ้งให้ท้าวดาหาทราบว่า ท้าวกุเรปันส่งกะหรัดตะปาตีให้สมทบกับทัพอิเหนามาช่วย ท้าวดาหาก็เชื่อว่ากะหรัดตะปาตีนั้นคงมา แต่ไม่เชื่อว่าอิเหนาจะจากหมันหยามาได้ ท้าวดาหาเสนอแนะการทำศึกแก่สุหรานากงว่าไม่ควรออกไปสู้รบนอกเมือง เพราะกองทัพศัตรูกล้ายกมาครั้งนี้ก็ย่อมมีความสามารถมีกำลัง ควรตั้งมั่นไว้ในเมืองก่อน ถ้าทัพต่างๆยกมาช่วยแล้วค่อยตีกระหนาบ ศึกก็จะล่าเลิกไป

                     อิเหนาเมื่อได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันให้ยกทัพไปช่วยท้าวดาหา ถ้าไม่ยกไปช่วยก็ขาดจากความเป็นพ่อลูกกัน แม้ตายก็ไม่ต้องไปเผา

 อิเหนาอ่านจบแล้วก็นึกว่า นางบุษบาจะงามแค่ไหน ใครต่อใครจึงมาหลงรัก ถ้างามเหมือนจินตะหราก็สมควรที่จะหลงรัก อิเหนาคิดว่าอีก 7 วันจึงจะยกทัพไปแต่ดะหมังทูลเตือนว่าอาจไปช่วยไม่ทัน อิเหนาจึงจำใจยกทัพไปวันรุ่งขึ้น อิเหนาได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยาซึ่งก็ได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันมีใจความตำหนิพระธิดาและท้าวหมันหยา ถ้าท้าวหมันหยายังเห็นดีเห็นงามไม่ให้อิเหนายกทัพไปช่วยศึกดาหา ก็จะตัดญาติขาดมิตรกัน ท้าวหมันหยาจึงเร่งให้อิเหนายกทัพไปและให้ระเด่นดาหยนคุมทัพจากหมันหยาไปสมทบอิเหนาด้วย

                      อิเหนาจึงมาลาจินตะหรา สการะวาตี และมาหยารัศมี ทั้งที่ใจไม่อยากจากไป อิเหนาสัญญากับจินตะหราว่าเสร็จศึกจะรีบกลีบมาทันที อิเหนายกทัพจากเมืองหมันหยาไปด้วยความโศกเศร้า และคิดถึงสามนางมาตามทางที่ผ่านไป อิเหนายกทัพสมทบกับกะหรัดตะปาตีที่คอยท่าอยู่แล้วพากันยกไปเมืองดาหา เมื่อถึงแดนดาหาอิเหนาก็หยุดตั้งค่าย ให้ตำมะหงงไปทูลท้าวดาหาว่าจะทำศึกให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วจึงจะมาเข้าเฝ้า ท้าวดาหาก็ยินดีเมื่อรู้ว่าอิเหนายกทัพมาแล้ว เพราะรู้ว่าอิเหนาเก่งกล้าสามารถ ย่อมชนะศึกแน่นอน ส่วสุหรานากงก็ยกทัพออกไปสมทบกับอิเหนาแล้วเล่าเรื่องที่ท้าวดาหากล่าวถึงอิเหนาให้ฟัง

                        ฝ่ายท้าวกะหมังกุหนิงแม้รู้ข่าวว่ามีทัพยกมาช่วยท้าวดาหาแต่ก็ยังไม่เปลี่ยนใจได้เตรียมทำศึกเต็มที่ เมื่อทัพกะหมังกุหนิงประจันทัพกับทัพของอิเหนา ท้าวกะหมังกุหนิงไม่รู้ว่าเป็นทัพของอิเหนาจึงถามว่าผู้ใดคือจรกา อิเหนาจึงตอบว่าจรกามิได้มาด้วย เรายกมาแต่กุเรปันเพื่อมาช่วยน้อง ท้าวกะหมังกุหนิงเมื่อรู้ว่าเป็นอิเหนาก็รู้สึกหวาดหวั่นแต่ก็มีมานะเจรจาตอบ ในที่สุดสังคามาระตะก็ออกต่อสู้กับวิหยาสะกำ และได้ฆ่าวิหยาสะกำตาย ท้าวกะหมังกุหนิงจึงเข้าต่อสู้กับสังคามาระตะ อิเหนาเข้ารับไว้และฆ่าท้าวกะหมังกุหนิงสำเร็จ ระตูปาหยังและท้าวประหมันเห็นเหตุการณ์เป็นดังนั้นจึงยอมแพ้แก่อิเหนา และจะยอมเป็นเมืองขึ้นจะส่วเครื่องบรรณาการมาถวายตามประเพณี อิเหนาก็ได้อณุญาตให้นำศพท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำกลับไปที่เมืองเพื่อจัดพิธีศพตามประเพณีต่อไป

คุณค่าของเรื่อง

1.       ให้ความสนุกเพลิดเพลิน

2.       ให้ความรู้เกี่ยวกับกลอนบทละคร และความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีมรดกของไทย

3.       ให้คติข้อคิดต่างๆเช่น

-         การต่อสู้กันต้องใช้ไหวพริบและความสามารถในการรบ

-         สงครามนำมาซึ่งความหายนะ

-         แสดงให้เห็นถึงความรักอันยิ่งใหญ่ของพ่อแม่ที่มีต่อลูก

 
เมื่อท้าวดาหาทราบข่าวศึกก็ให้ตั้งค่ายรอบกรุงดาหาไว้ ทัพเมืองกะหมังกุหนิงก็ได้ยกทัพมาประชิดเมืองดาหา ท้าวดาหาเมื่อเห็นศึกมาประชิดเช่นนั้นก็รู้สึกน้อยใจอิเหนาว่าศึกครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะอิเหนาเป็นต้นเหตุ สุหรานากงและเสนาเมืองกาหลังเมื่อมาถึงก็เข้าเฝ้าท้าวดาหา สุหรานากงแจ้งให้ท้าวดาหาทราบว่า ท้าวกุเรปันส่งกะหรัดตะปาตีให้สมทบกับทัพอิเหนามาช่วย ท้าวดาหาก็เชื่อว่ากะหรัดตะปาตีนั้นคงมา แต่ไม่เชื่อว่าอิเหนาจะจากหมันหยามาได้ ท้าวดาหาเสนอแนะการทำศึกแก่สุหรานากงว่าไม่ควรออกไปสู้รบนอกเมือง เพราะกองทัพศัตรูกล้ายกมาครั้งนี้ก็ย่อมมีความสามารถมีกำลัง ควรตั้งมั่นไว้ในเมืองก่อน ถ้าทัพต่างๆยกมาช่วยแล้วค่อยตีกระหนาบ ศึกก็จะล่าเลิกไป

                     อิเหนาเมื่อได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันให้ยกทัพไปช่วยท้าวดาหา ถ้าไม่ยกไปช่วยก็ขาดจากความเป็นพ่อลูกกัน แม้ตายก็ไม่ต้องไปเผา

 อิเหนาอ่านจบแล้วก็นึกว่า นางบุษบาจะงามแค่ไหน ใครต่อใครจึงมาหลงรัก ถ้างามเหมือนจินตะหราก็สมควรที่จะหลงรัก อิเหนาคิดว่าอีก 7 วันจึงจะยกทัพไปแต่ดะหมังทูลเตือนว่าอาจไปช่วยไม่ทัน อิเหนาจึงจำใจยกทัพไปวันรุ่งขึ้น อิเหนาได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยาซึ่งก็ได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันมีใจความตำหนิพระธิดาและท้าวหมันหยา ถ้าท้าวหมันหยายังเห็นดีเห็นงามไม่ให้อิเหนายกทัพไปช่วยศึกดาหา ก็จะตัดญาติขาดมิตรกัน ท้าวหมันหยาจึงเร่งให้อิเหนายกทัพไปและให้ระเด่นดาหยนคุมทัพจากหมันหยาไปสมทบอิเหนาด้วย

                      อิเหนาจึงมาลาจินตะหรา สการะวาตี และมาหยารัศมี ทั้งที่ใจไม่อยากจากไป อิเหนาสัญญากับจินตะหราว่าเสร็จศึกจะรีบกลีบมาทันที อิเหนายกทัพจากเมืองหมันหยาไปด้วยความโศกเศร้า และคิดถึงสามนางมาตามทางที่ผ่านไป อิเหนายกทัพสมทบกับกะหรัดตะปาตีที่คอยท่าอยู่แล้วพากันยกไปเมืองดาหา เมื่อถึงแดนดาหาอิเหนาก็หยุดตั้งค่าย ให้ตำมะหงงไปทูลท้าวดาหาว่าจะทำศึกให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วจึงจะมาเข้าเฝ้า ท้าวดาหาก็ยินดีเมื่อรู้ว่าอิเหนายกทัพมาแล้ว เพราะรู้ว่าอิเหนาเก่งกล้าสามารถ ย่อมชนะศึกแน่นอน ส่วสุหรานากงก็ยกทัพออกไปสมทบกับอิเหนาแล้วเล่าเรื่องที่ท้าวดาหากล่าวถึงอิเหนาให้ฟัง

                        ฝ่ายท้าวกะหมังกุหนิงแม้รู้ข่าวว่ามีทัพยกมาช่วยท้าวดาหาแต่ก็ยังไม่เปลี่ยนใจได้เตรียมทำศึกเต็มที่ เมื่อทัพกะหมังกุหนิงประจันทัพกับทัพของอิเหนา ท้าวกะหมังกุหนิงไม่รู้ว่าเป็นทัพของอิเหนาจึงถามว่าผู้ใดคือจรกา อิเหนาจึงตอบว่าจรกามิได้มาด้วย เรายกมาแต่กุเรปันเพื่อมาช่วยน้อง ท้าวกะหมังกุหนิงเมื่อรู้ว่าเป็นอิเหนาก็รู้สึกหวาดหวั่นแต่ก็มีมานะเจรจาตอบ ในที่สุดสังคามาระตะก็ออกต่อสู้กับวิหยาสะกำ และได้ฆ่าวิหยาสะกำตาย ท้าวกะหมังกุหนิงจึงเข้าต่อสู้กับสังคามาระตะ อิเหนาเข้ารับไว้และฆ่าท้าวกะหมังกุหนิงสำเร็จ ระตูปาหยังและท้าวประหมันเห็นเหตุการณ์เป็นดังนั้นจึงยอมแพ้แก่อิเหนา และจะยอมเป็นเมืองขึ้นจะส่วเครื่องบรรณาการมาถวายตามประเพณี อิเหนาก็ได้อณุญาตให้นำศพท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำกลับไปที่เมืองเพื่อจัดพิธีศพตามประเพณีต่อไป

คุณค่าของเรื่อง

1.       ให้ความสนุกเพลิดเพลิน

2.       ให้ความรู้เกี่ยวกับกลอนบทละคร และความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีมรดกของไทย

3.       ให้คติข้อคิดต่างๆเช่น

-         การต่อสู้กันต้องใช้ไหวพริบและความสามารถในการรบ

-         สงครามนำมาซึ่งความหายนะ

-         แสดงให้เห็นถึงความรักอันยิ่งใหญ่ของพ่อแม่ที่มีต่อลูก

 
เมื่อท้าวดาหาทราบข่าวศึกก็ให้ตั้งค่ายรอบกรุงดาหาไว้ ทัพเมืองกะหมังกุหนิงก็ได้ยกทัพมาประชิดเมืองดาหา ท้าวดาหาเมื่อเห็นศึกมาประชิดเช่นนั้นก็รู้สึกน้อยใจอิเหนาว่าศึกครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะอิเหนาเป็นต้นเหตุ สุหรานากงและเสนาเมืองกาหลังเมื่อมาถึงก็เข้าเฝ้าท้าวดาหา สุหรานากงแจ้งให้ท้าวดาหาทราบว่า ท้าวกุเรปันส่งกะหรัดตะปาตีให้สมทบกับทัพอิเหนามาช่วย ท้าวดาหาก็เชื่อว่ากะหรัดตะปาตีนั้นคงมา แต่ไม่เชื่อว่าอิเหนาจะจากหมันหยามาได้ ท้าวดาหาเสนอแนะการทำศึกแก่สุหรานากงว่าไม่ควรออกไปสู้รบนอกเมือง เพราะกองทัพศัตรูกล้ายกมาครั้งนี้ก็ย่อมมีความสามารถมีกำลัง ควรตั้งมั่นไว้ในเมืองก่อน ถ้าทัพต่างๆยกมาช่วยแล้วค่อยตีกระหนาบ ศึกก็จะล่าเลิกไป

                     อิเหนาเมื่อได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันให้ยกทัพไปช่วยท้าวดาหา ถ้าไม่ยกไปช่วยก็ขาดจากความเป็นพ่อลูกกัน แม้ตายก็ไม่ต้องไปเผา

 อิเหนาอ่านจบแล้วก็นึกว่า นางบุษบาจะงามแค่ไหน ใครต่อใครจึงมาหลงรัก ถ้างามเหมือนจินตะหราก็สมควรที่จะหลงรัก อิเหนาคิดว่าอีก 7 วันจึงจะยกทัพไปแต่ดะหมังทูลเตือนว่าอาจไปช่วยไม่ทัน อิเหนาจึงจำใจยกทัพไปวันรุ่งขึ้น อิเหนาได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยาซึ่งก็ได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันมีใจความตำหนิพระธิดาและท้าวหมันหยา ถ้าท้าวหมันหยายังเห็นดีเห็นงามไม่ให้อิเหนายกทัพไปช่วยศึกดาหา ก็จะตัดญาติขาดมิตรกัน ท้าวหมันหยาจึงเร่งให้อิเหนายกทัพไปและให้ระเด่นดาหยนคุมทัพจากหมันหยาไปสมทบอิเหนาด้วย

                      อิเหนาจึงมาลาจินตะหรา สการะวาตี และมาหยารัศมี ทั้งที่ใจไม่อยากจากไป อิเหนาสัญญากับจินตะหราว่าเสร็จศึกจะรีบกลีบมาทันที อิเหนายกทัพจากเมืองหมันหยาไปด้วยความโศกเศร้า และคิดถึงสามนางมาตามทางที่ผ่านไป อิเหนายกทัพสมทบกับกะหรัดตะปาตีที่คอยท่าอยู่แล้วพากันยกไปเมืองดาหา เมื่อถึงแดนดาหาอิเหนาก็หยุดตั้งค่าย ให้ตำมะหงงไปทูลท้าวดาหาว่าจะทำศึกให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วจึงจะมาเข้าเฝ้า ท้าวดาหาก็ยินดีเมื่อรู้ว่าอิเหนายกทัพมาแล้ว เพราะรู้ว่าอิเหนาเก่งกล้าสามารถ ย่อมชนะศึกแน่นอน ส่วสุหรานากงก็ยกทัพออกไปสมทบกับอิเหนาแล้วเล่าเรื่องที่ท้าวดาหากล่าวถึงอิเหนาให้ฟัง

                        ฝ่ายท้าวกะหมังกุหนิงแม้รู้ข่าวว่ามีทัพยกมาช่วยท้าวดาหาแต่ก็ยังไม่เปลี่ยนใจได้เตรียมทำศึกเต็มที่ เมื่อทัพกะหมังกุหนิงประจันทัพกับทัพของอิเหนา ท้าวกะหมังกุหนิงไม่รู้ว่าเป็นทัพของอิเหนาจึงถามว่าผู้ใดคือจรกา อิเหนาจึงตอบว่าจรกามิได้มาด้วย เรายกมาแต่กุเรปันเพื่อมาช่วยน้อง ท้าวกะหมังกุหนิงเมื่อรู้ว่าเป็นอิเหนาก็รู้สึกหวาดหวั่นแต่ก็มีมานะเจรจาตอบ ในที่สุดสังคามาระตะก็ออกต่อสู้กับวิหยาสะกำ และได้ฆ่าวิหยาสะกำตาย ท้าวกะหมังกุหนิงจึงเข้าต่อสู้กับสังคามาระตะ อิเหนาเข้ารับไว้และฆ่าท้าวกะหมังกุหนิงสำเร็จ ระตูปาหยังและท้าวประหมันเห็นเหตุการณ์เป็นดังนั้นจึงยอมแพ้แก่อิเหนา และจะยอมเป็นเมืองขึ้นจะส่วเครื่องบรรณาการมาถวายตามประเพณี อิเหนาก็ได้อณุญาตให้นำศพท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำกลับไปที่เมืองเพื่อจัดพิธีศพตามประเพณีต่อไป

คุณค่าของเรื่อง

1.       ให้ความสนุกเพลิดเพลิน

2.       ให้ความรู้เกี่ยวกับกลอนบทละคร และความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีมรดกของไทย

3.       ให้คติข้อคิดต่างๆเช่น

-         การต่อสู้กันต้องใช้ไหวพริบและความสามารถในการรบ

-         สงครามนำมาซึ่งความหายนะ

-         แสดงให้เห็นถึงความรักอันยิ่งใหญ่ของพ่อแม่ที่มีต่อลูก

 
เมื่อท้าวดาหาทราบข่าวศึกก็ให้ตั้งค่ายรอบกรุงดาหาไว้ ทัพเมืองกะหมังกุหนิงก็ได้ยกทัพมาประชิดเมืองดาหา ท้าวดาหาเมื่อเห็นศึกมาประชิดเช่นนั้นก็รู้สึกน้อยใจอิเหนาว่าศึกครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะอิเหนาเป็นต้นเหตุ สุหรานากงและเสนาเมืองกาหลังเมื่อมาถึงก็เข้าเฝ้าท้าวดาหา สุหรานากงแจ้งให้ท้าวดาหาทราบว่า ท้าวกุเรปันส่งกะหรัดตะปาตีให้สมทบกับทัพอิเหนามาช่วย ท้าวดาหาก็เชื่อว่ากะหรัดตะปาตีนั้นคงมา แต่ไม่เชื่อว่าอิเหนาจะจากหมันหยามาได้ ท้าวดาหาเสนอแนะการทำศึกแก่สุหรานากงว่าไม่ควรออกไปสู้รบนอกเมือง เพราะกองทัพศัตรูกล้ายกมาครั้งนี้ก็ย่อมมีความสามารถมีกำลัง ควรตั้งมั่นไว้ในเมืองก่อน ถ้าทัพต่างๆยกมาช่วยแล้วค่อยตีกระหนาบ ศึกก็จะล่าเลิกไป

                     อิเหนาเมื่อได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันให้ยกทัพไปช่วยท้าวดาหา ถ้าไม่ยกไปช่วยก็ขาดจากความเป็นพ่อลูกกัน แม้ตายก็ไม่ต้องไปเผา

 อิเหนาอ่านจบแล้วก็นึกว่า นางบุษบาจะงามแค่ไหน ใครต่อใครจึงมาหลงรัก ถ้างามเหมือนจินตะหราก็สมควรที่จะหลงรัก อิเหนาคิดว่าอีก 7 วันจึงจะยกทัพไปแต่ดะหมังทูลเตือนว่าอาจไปช่วยไม่ทัน อิเหนาจึงจำใจยกทัพไปวันรุ่งขึ้น อิเหนาได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยาซึ่งก็ได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันมีใจความตำหนิพระธิดาและท้าวหมันหยา ถ้าท้าวหมันหยายังเห็นดีเห็นงามไม่ให้อิเหนายกทัพไปช่วยศึกดาหา ก็จะตัดญาติขาดมิตรกัน ท้าวหมันหยาจึงเร่งให้อิเหนายกทัพไปและให้ระเด่นดาหยนคุมทัพจากหมันหยาไปสมทบอิเหนาด้วย

                      อิเหนาจึงมาลาจินตะหรา สการะวาตี และมาหยารัศมี ทั้งที่ใจไม่อยากจากไป อิเหนาสัญญากับจินตะหราว่าเสร็จศึกจะรีบกลีบมาทันที อิเหนายกทัพจากเมืองหมันหยาไปด้วยความโศกเศร้า และคิดถึงสามนางมาตามทางที่ผ่านไป อิเหนายกทัพสมทบกับกะหรัดตะปาตีที่คอยท่าอยู่แล้วพากันยกไปเมืองดาหา เมื่อถึงแดนดาหาอิเหนาก็หยุดตั้งค่าย ให้ตำมะหงงไปทูลท้าวดาหาว่าจะทำศึกให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วจึงจะมาเข้าเฝ้า ท้าวดาหาก็ยินดีเมื่อรู้ว่าอิเหนายกทัพมาแล้ว เพราะรู้ว่าอิเหนาเก่งกล้าสามารถ ย่อมชนะศึกแน่นอน ส่วสุหรานากงก็ยกทัพออกไปสมทบกับอิเหนาแล้วเล่าเรื่องที่ท้าวดาหากล่าวถึงอิเหนาให้ฟัง

                        ฝ่ายท้าวกะหมังกุหนิงแม้รู้ข่าวว่ามีทัพยกมาช่วยท้าวดาหาแต่ก็ยังไม่เปลี่ยนใจได้เตรียมทำศึกเต็มที่ เมื่อทัพกะหมังกุหนิงประจันทัพกับทัพของอิเหนา ท้าวกะหมังกุหนิงไม่รู้ว่าเป็นทัพของอิเหนาจึงถามว่าผู้ใดคือจรกา อิเหนาจึงตอบว่าจรกามิได้มาด้วย เรายกมาแต่กุเรปันเพื่อมาช่วยน้อง ท้าวกะหมังกุหนิงเมื่อรู้ว่าเป็นอิเหนาก็รู้สึกหวาดหวั่นแต่ก็มีมานะเจรจาตอบ ในที่สุดสังคามาระตะก็ออกต่อสู้กับวิหยาสะกำ และได้ฆ่าวิหยาสะกำตาย ท้าวกะหมังกุหนิงจึงเข้าต่อสู้กับสังคามาระตะ อิเหนาเข้ารับไว้และฆ่าท้าวกะหมังกุหนิงสำเร็จ ระตูปาหยังและท้าวประหมันเห็นเหตุการณ์เป็นดังนั้นจึงยอมแพ้แก่อิเหนา และจะยอมเป็นเมืองขึ้นจะส่วเครื่องบรรณาการมาถวายตามประเพณี อิเหนาก็ได้อณุญาตให้นำศพท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำกลับไปที่เมืองเพื่อจัดพิธีศพตามประเพณีต่อไป

คุณค่าของเรื่อง

1.       ให้ความสนุกเพลิดเพลิน

2.       ให้ความรู้เกี่ยวกับกลอนบทละคร และความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีมรดกของไทย

3.       ให้คติข้อคิดต่างๆเช่น

-         การต่อสู้กันต้องใช้ไหวพริบและความสามารถในการรบ

-         สงครามนำมาซึ่งความหายนะ

-         แสดงให้เห็นถึงความรักอันยิ่งใหญ่ของพ่อแม่ที่มีต่อลูก

 
เมื่อท้าวดาหาทราบข่าวศึกก็ให้ตั้งค่ายรอบกรุงดาหาไว้ ทัพเมืองกะหมังกุหนิงก็ได้ยกทัพมาประชิดเมืองดาหา ท้าวดาหาเมื่อเห็นศึกมาประชิดเช่นนั้นก็รู้สึกน้อยใจอิเหนาว่าศึกครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะอิเหนาเป็นต้นเหตุ สุหรานากงและเสนาเมืองกาหลังเมื่อมาถึงก็เข้าเฝ้าท้าวดาหา สุหรานากงแจ้งให้ท้าวดาหาทราบว่า ท้าวกุเรปันส่งกะหรัดตะปาตีให้สมทบกับทัพอิเหนามาช่วย ท้าวดาหาก็เชื่อว่ากะหรัดตะปาตีนั้นคงมา แต่ไม่เชื่อว่าอิเหนาจะจากหมันหยามาได้ ท้าวดาหาเสนอแนะการทำศึกแก่สุหรานากงว่าไม่ควรออกไปสู้รบนอกเมือง เพราะกองทัพศัตรูกล้ายกมาครั้งนี้ก็ย่อมมีความสามารถมีกำลัง ควรตั้งมั่นไว้ในเมืองก่อน ถ้าทัพต่างๆยกมาช่วยแล้วค่อยตีกระหนาบ ศึกก็จะล่าเลิกไป

                     อิเหนาเมื่อได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันให้ยกทัพไปช่วยท้าวดาหา ถ้าไม่ยกไปช่วยก็ขาดจากความเป็นพ่อลูกกัน แม้ตายก็ไม่ต้องไปเผา

 อิเหนาอ่านจบแล้วก็นึกว่า นางบุษบาจะงามแค่ไหน ใครต่อใครจึงมาหลงรัก ถ้างามเหมือนจินตะหราก็สมควรที่จะหลงรัก อิเหนาคิดว่าอีก 7 วันจึงจะยกทัพไปแต่ดะหมังทูลเตือนว่าอาจไปช่วยไม่ทัน อิเหนาจึงจำใจยกทัพไปวันรุ่งขึ้น อิเหนาได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยาซึ่งก็ได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันมีใจความตำหนิพระธิดาและท้าวหมันหยา ถ้าท้าวหมันหยายังเห็นดีเห็นงามไม่ให้อิเหนายกทัพไปช่วยศึกดาหา ก็จะตัดญาติขาดมิตรกัน ท้าวหมันหยาจึงเร่งให้อิเหนายกทัพไปและให้ระเด่นดาหยนคุมทัพจากหมันหยาไปสมทบอิเหนาด้วย

                      อิเหนาจึงมาลาจินตะหรา สการะวาตี และมาหยารัศมี ทั้งที่ใจไม่อยากจากไป อิเหนาสัญญากับจินตะหราว่าเสร็จศึกจะรีบกลีบมาทันที อิเหนายกทัพจากเมืองหมันหยาไปด้วยความโศกเศร้า และคิดถึงสามนางมาตามทางที่ผ่านไป อิเหนายกทัพสมทบกับกะหรัดตะปาตีที่คอยท่าอยู่แล้วพากันยกไปเมืองดาหา เมื่อถึงแดนดาหาอิเหนาก็หยุดตั้งค่าย ให้ตำมะหงงไปทูลท้าวดาหาว่าจะทำศึกให้เสร็จสิ้นก่อนแล้วจึงจะมาเข้าเฝ้า ท้าวดาหาก็ยินดีเมื่อรู้ว่าอิเหนายกทัพมาแล้ว เพราะรู้ว่าอิเหนาเก่งกล้าสามารถ ย่อมชนะศึกแน่นอน ส่วสุหรานากงก็ยกทัพออกไปสมทบกับอิเหนาแล้วเล่าเรื่องที่ท้าวดาหากล่าวถึงอิเหนาให้ฟัง

                        ฝ่ายท้าวกะหมังกุหนิงแม้รู้ข่าวว่ามีทัพยกมาช่วยท้าวดาหาแต่ก็ยังไม่เปลี่ยนใจได้เตรียมทำศึกเต็มที่ เมื่อทัพกะหมังกุหนิงประจันทัพกับทัพของอิเหนา ท้าวกะหมังกุหนิงไม่รู้ว่าเป็นทัพของอิเหนาจึงถามว่าผู้ใดคือจรกา อิเหนาจึงตอบว่าจรกามิได้มาด้วย เรายกมาแต่กุเรปันเพื่อมาช่วยน้อง ท้าวกะหมังกุหนิงเมื่อรู้ว่าเป็นอิเหนาก็รู้สึกหวาดหวั่นแต่ก็มีมานะเจรจาตอบ ในที่สุดสังคามาระตะก็ออกต่อสู้กับวิหยาสะกำ และได้ฆ่าวิหยาสะกำตาย ท้าวกะหมังกุหนิงจึงเข้าต่อสู้กับสังคามาระตะ อิเหนาเข้ารับไว้และฆ่าท้าวกะหมังกุหนิงสำเร็จ ระตูปาหยังและท้าวประหมันเห็นเหตุการณ์เป็นดังนั้นจึงยอมแพ้แก่อิเหนา และจะยอมเป็นเมืองขึ้นจะส่วเครื่องบรรณาการมาถวายตามประเพณี อิเหนาก็ได้อณุญาตให้นำศพท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำกลับไปที่เมืองเพื่อจัดพิธีศพตามประเพณีต่อไป

คุณค่าของเรื่อง

1.       ให้ความสนุกเพลิดเพลิน

2.       ให้ความรู้เกี่ยวกับกลอนบทละคร และความรู้เกี่ยวกับวรรณคดีมรดกของไทย

3.       ให้คติข้อคิดต่างๆเช่น

-         การต่อสู้กันต้องใช้ไหวพริบและความสามารถในการรบ

-         สงครามนำมาซึ่งความหายนะ

-         แสดงให้เห็นถึงความรักอันยิ่งใหญ่ของพ่อแม่ที่มีต่อลูก

 
เมื่อท้าวดาหาทราบข่าวศึกก็ให้ตั้งค่ายรอบกรุงดาหาไว้ ทัพเมืองกะหมังกุหนิงก็ได้ยกทัพมาประชิดเมืองดาหา ท้าวดาหาเมื่อเห็นศึกมาประชิดเช่นนั้นก็รู้สึกน้อยใจอิเหนาว่าศึกครั้งนี้เกิดขึ้นเพราะอิเหนาเป็นต้นเหตุ สุหรานากงและเสนาเมืองกาหลังเมื่อมาถึงก็เข้าเฝ้าท้าวดาหา สุหรานากงแจ้งให้ท้าวดาหาทราบว่า ท้าวกุเรปันส่งกะหรัดตะปาตีให้สมทบกับทัพอิเหนามาช่วย ท้าวดาหาก็เชื่อว่ากะหรัดตะปาตีนั้นคงมา แต่ไม่เชื่อว่าอิเหนาจะจากหมันหยามาได้ ท้าวดาหาเสนอแนะการทำศึกแก่สุหรานากงว่าไม่ควรออกไปสู้รบนอกเมือง เพราะกองทัพศัตรูกล้ายกมาครั้งนี้ก็ย่อมมีความสามารถมีกำลัง ควรตั้งมั่นไว้ในเมืองก่อน ถ้าทัพต่างๆยกมาช่วยแล้วค่อยตีกระหนาบ ศึกก็จะล่าเลิกไป

                     อิเหนาเมื่อได้รับหนังสือจากท้าวกุเรปันให้ยกทัพไปช่วยท้าวดาหา ถ้าไม่ยกไปช่วยก็ขาดจากความเป็นพ่อลูกกัน แม้ตายก็ไม่ต้องไปเผา

 อิเหนาอ่านจบแล้วก็นึกว่า นางบุษบาจะงามแค่ไหน ใครต่อใครจึงมาหลงรัก ถ้างามเหมือนจินตะหราก็สมควรที่จะหลงรัก อิเหนาคิดว่าอีก 7 วันจึงจะยกทัพไปแต่ดะหมังทูลเตือนว่าอาจไปช่วยไม่ทัน อิเหนาจึงจำใจยกทัพไปวันรุ่งขึ้น อิเหนาได้เข้าเฝ้าท้าวหมันหยาซึ่งก็ได้รับหนังสือจากท้าวกุเรป





http://www.google.com


โดย:
งาน: งานห้องสมุด
อ้างอิงแผนงาน : -
อ้างอิงโครงการ : -
แหล่งที่มา: พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย '' อิเหนา '' 20 มกราคม ,2546

ขอบคุณสำหรับการโวตท์
Vote
เป็นประโยชน์ต่อผู้โพสต์เอง
เป็นประโยชน์ต่อฉัน
เป็นประโยชน์ต่อผู้ปกครอง
เป็นประโยชน์ต่อนักเรียน
มีประโยชน์ต่อทุกคน
บุคลากร 0 บุคคลภายนอก 3

อ่าน 0 ครั้ง